Difference between revisions of "เกี่ยวกับโครงการ"
(Created page with "<strong>WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ</strong> สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์...") |
|||
(14 intermediate revisions by the same user not shown) | |||
Line 1: | Line 1: | ||
<strong>WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ</strong> | <strong>WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ</strong> | ||
สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | เป็นโครงการที่ดำเนินการโดย สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนจาก กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยมี [[วัชระ อมศิริ|อาจารย์วัชระ อมศิริ]] อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าโครงการ | ||
==ที่มาและความสำคัญ== | |||
การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร เป็นประเด็นสำคัญซึ่งกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ ได้กำหนดให้เป็นแผนงาน และยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องตามแผนปฏิบัติการของกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยเฉพาะการส่งเสริมและสนับสนุนแก่นักเรียนและนักศึกษาในการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สายงานอาชีพด้านวิทยุ โทรทัศน์ และโทรคมนาคมในปัจจุบัน และสอดคล้องตาม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแม่บทด้านสารสนเทศและ การสื่อสารของประชาคม อาเซียน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) และ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนา ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม </p> | |||
ในปัจจุบันเทคโนโลยีโทรคมนาคม มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้นักเรียน และนักศึกษามีความสนใจทางด้านเทคโนโลยีในหลากหลายสาขา รวมถึง เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม ซึ่งดังกล่าวนี้ จะก่อให้เกิดสร้างความสนใจในเทคโนโลยีโทรคมนาคมเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สายงานอาชีพด้านโทรคมนาคมในอนาคตต่อไป อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม ยังเป็นไปด้วยความจำกัด เนื่องจากปัจจัย 2 ประการคือ | |||
#การขาดแคลนเครื่องมือในการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม เนื่องจากเครื่องมือวัดทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมมีมูลค่าสูง | |||
#การขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ </p> | |||
การส่งเสริมให้เกิดการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม จำเป็นต้องมีเครื่องมือหรือสื่อการสอนที่เหมาะสมโดยเฉพาะในนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งเป็นช่วงวัยที่ควรได้รับการพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ และการสร้างความสนใจทางด้านเทคโนโลยีโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้พัฒนาเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณไวไฟ โดยผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจในทฤษฎีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมได้อย่างหลากหลาย เช่น เครื่องส่งวิทยุคมนาคม เครื่องรับวิทยุคมนาคม สายอากาศ รูปแบบการแพร่กระจายคลื่น เป็นต้น เหมาะสมสำหรับเป็นเครื่องมือช่วยสอนทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน </p> | |||
ดังกล่าวนี้ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านสายอากาศโทรคมนาคมในโรงเรียน จึงได้สร้างโอกาสและส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน ด้วยเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ โดยจัดการฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ในการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุดเครื่องมือ เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ จำนวน 500 ชุด ให้กับสถานศึกษานำร่องจำนวน 200 โรงเรียนทั่วประเทศ รวมถึงและ การจัดการแข่งขันการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณในสถานการณ์ฉุกเฉินจำลอง เพื่อเป็นการสร้างความสนใจทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมให้กับนักเรียนด้วย | |||
==วัตถุประสงค์ของโครงการ== | |||
*ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน | |||
*ขยายโอกาสให้ครูและนักเรียนมีอุปกรณ์ในการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม | |||
*สร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนมีความสนใจเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม | |||
==ขอบเขตและกิจกรรม== | |||
*รับสมัครสถานศึกษา เข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่า 200 สถานศึกษา ทั่วประเทศ เพื่อคัดเลือกเข้ารับการอบรมการพัฒนาเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ | |||
*คัดเลือกสถานศึกษา ไม่ต่ำกว่า 200 สถานศึกษา เพื่อส่งบุคลากรทางการศึกษาเข้ารับการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ และ การฝึกอบรมสร้าง Trainer การใช้งานอุปกรณ์ที่ได้พัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบด้วย ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงนักเรียนแกนนำ ไม่ต่ำกว่า 500 คน โดยจัดการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) และ นำผลการทดสอบก่อนเรียนมาใช้จัดกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมในกลุ่ม Trainer เพื่อให้สามารถจัดกลุ่มการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในกลุ่มผู้เรียนที่มีทักษะใกล้เคียงกันและจัดการทดสอบหลังเรียน (Posttest) เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ | |||
*จัดการฝึกอบรมครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงนักเรียนแกนนำ ไม่ต่ำกว่า 500 คน เพื่อพัฒนาชุดเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ พร้อมชุดอุปกรณ์ส่วนควบ ประกอบด้วย สายอากาศชนิดรอบตัว และ สายอากาศชนิดทิศทาง จำนวน 500 ชุด โดยมีกรอบแนวคิดและรายละเอียดด้านเทคนิคตามที่กำหนดในโครงการ | |||
*พัฒนาสื่อการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม จาก เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ในรูปแบบของคู่มือสื่อการสอน (Handout) และ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทวีดีทัศน์ (Electronics Video) อย่างละ 1 ชุด | |||
*จัดการแข่งขันการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณในสถานการณ์ฉุกเฉินจำลอง เพื่อเป็นการสร้างความสนใจทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมให้กับนักเรียน ระยะเวลา 2 วัน 1 คืน จำนวน 1 ครั้ง | |||
*ติดตามผลการนำเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน จากสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ | |||
==ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ== | |||
*สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน ด้วยเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ | |||
*สามารถขยายโอกาสให้ครู และนักเรียนมีอุปกรณ์ในการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม | |||
*สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนมีความสนใจเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม | |||
<noinclude> | |||
==อ้างอิง== | |||
<references /> | |||
</noinclude> |
Latest revision as of 18:58, 30 March 2022
WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ
เป็นโครงการที่ดำเนินการโดย สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนจาก กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยมี อาจารย์วัชระ อมศิริ อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าโครงการ
ที่มาและความสำคัญ[edit]
การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร เป็นประเด็นสำคัญซึ่งกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ ได้กำหนดให้เป็นแผนงาน และยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องตามแผนปฏิบัติการของกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยเฉพาะการส่งเสริมและสนับสนุนแก่นักเรียนและนักศึกษาในการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สายงานอาชีพด้านวิทยุ โทรทัศน์ และโทรคมนาคมในปัจจุบัน และสอดคล้องตาม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแม่บทด้านสารสนเทศและ การสื่อสารของประชาคม อาเซียน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) และ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนา ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ในปัจจุบันเทคโนโลยีโทรคมนาคม มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้นักเรียน และนักศึกษามีความสนใจทางด้านเทคโนโลยีในหลากหลายสาขา รวมถึง เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม ซึ่งดังกล่าวนี้ จะก่อให้เกิดสร้างความสนใจในเทคโนโลยีโทรคมนาคมเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สายงานอาชีพด้านโทรคมนาคมในอนาคตต่อไป อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม ยังเป็นไปด้วยความจำกัด เนื่องจากปัจจัย 2 ประการคือ
- การขาดแคลนเครื่องมือในการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม เนื่องจากเครื่องมือวัดทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมมีมูลค่าสูง
- การขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ
การส่งเสริมให้เกิดการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม จำเป็นต้องมีเครื่องมือหรือสื่อการสอนที่เหมาะสมโดยเฉพาะในนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งเป็นช่วงวัยที่ควรได้รับการพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ และการสร้างความสนใจทางด้านเทคโนโลยีโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้พัฒนาเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณไวไฟ โดยผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจในทฤษฎีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมได้อย่างหลากหลาย เช่น เครื่องส่งวิทยุคมนาคม เครื่องรับวิทยุคมนาคม สายอากาศ รูปแบบการแพร่กระจายคลื่น เป็นต้น เหมาะสมสำหรับเป็นเครื่องมือช่วยสอนทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน
ดังกล่าวนี้ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านสายอากาศโทรคมนาคมในโรงเรียน จึงได้สร้างโอกาสและส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน ด้วยเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ โดยจัดการฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ในการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุดเครื่องมือ เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ จำนวน 500 ชุด ให้กับสถานศึกษานำร่องจำนวน 200 โรงเรียนทั่วประเทศ รวมถึงและ การจัดการแข่งขันการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณในสถานการณ์ฉุกเฉินจำลอง เพื่อเป็นการสร้างความสนใจทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมให้กับนักเรียนด้วย
วัตถุประสงค์ของโครงการ[edit]
- ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน
- ขยายโอกาสให้ครูและนักเรียนมีอุปกรณ์ในการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม
- สร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนมีความสนใจเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม
ขอบเขตและกิจกรรม[edit]
- รับสมัครสถานศึกษา เข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่า 200 สถานศึกษา ทั่วประเทศ เพื่อคัดเลือกเข้ารับการอบรมการพัฒนาเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ
- คัดเลือกสถานศึกษา ไม่ต่ำกว่า 200 สถานศึกษา เพื่อส่งบุคลากรทางการศึกษาเข้ารับการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ และ การฝึกอบรมสร้าง Trainer การใช้งานอุปกรณ์ที่ได้พัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบด้วย ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงนักเรียนแกนนำ ไม่ต่ำกว่า 500 คน โดยจัดการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) และ นำผลการทดสอบก่อนเรียนมาใช้จัดกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมในกลุ่ม Trainer เพื่อให้สามารถจัดกลุ่มการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในกลุ่มผู้เรียนที่มีทักษะใกล้เคียงกันและจัดการทดสอบหลังเรียน (Posttest) เพื่อประเมินผลการเรียนรู้
- จัดการฝึกอบรมครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงนักเรียนแกนนำ ไม่ต่ำกว่า 500 คน เพื่อพัฒนาชุดเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ พร้อมชุดอุปกรณ์ส่วนควบ ประกอบด้วย สายอากาศชนิดรอบตัว และ สายอากาศชนิดทิศทาง จำนวน 500 ชุด โดยมีกรอบแนวคิดและรายละเอียดด้านเทคนิคตามที่กำหนดในโครงการ
- พัฒนาสื่อการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม จาก เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ในรูปแบบของคู่มือสื่อการสอน (Handout) และ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทวีดีทัศน์ (Electronics Video) อย่างละ 1 ชุด
- จัดการแข่งขันการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณในสถานการณ์ฉุกเฉินจำลอง เพื่อเป็นการสร้างความสนใจทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมให้กับนักเรียน ระยะเวลา 2 วัน 1 คืน จำนวน 1 ครั้ง
- ติดตามผลการนำเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน จากสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ[edit]
- สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน ด้วยเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ
- สามารถขยายโอกาสให้ครู และนักเรียนมีอุปกรณ์ในการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม
- สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนมีความสนใจเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม
อ้างอิง[edit]