Editing เกี่ยวกับโครงการ

Jump to navigation Jump to search

Warning: You are not logged in. Your IP address will be publicly visible if you make any edits. If you log in or create an account, your edits will be attributed to your username, along with other benefits.

The edit can be undone. Please check the comparison below to verify that this is what you want to do, and then publish the changes below to finish undoing the edit.

Latest revision Your text
Line 1: Line 1:
<strong>WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ</strong>
<strong>WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ</strong>


เป็นโครงการที่ดำเนินการโดย สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนจาก กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยมี [[วัชระ อมศิริ|อาจารย์วัชระ อมศิริ]] อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าโครงการ
เป็นโครงการที่ดำเนินการโดย สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนจาก กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยมี [[วัชระ อมศิริ อาจารย์วัชระ อมศิริ]] อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าโครกงการ


==ที่มาและความสำคัญ==
==ที่มาและความสำคัญ==
การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร เป็นประเด็นสำคัญซึ่งกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ ได้กำหนดให้เป็นแผนงาน และยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องตามแผนปฏิบัติการของกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยเฉพาะการส่งเสริมและสนับสนุนแก่นักเรียนและนักศึกษาในการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สายงานอาชีพด้านวิทยุ โทรทัศน์ และโทรคมนาคมในปัจจุบัน และสอดคล้องตาม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแม่บทด้านสารสนเทศและ การสื่อสารของประชาคม อาเซียน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) และ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนา ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม </p>
การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร เป็นประเด็นสำคัญซึ่งกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ ได้กำหนดให้เป็นแผนงาน และยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องตามแผนปฏิบัติการของกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยเฉพาะการส่งเสริมและสนับสนุนแก่นักเรียนและนักศึกษาในการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สายงานอาชีพด้านวิทยุ โทรทัศน์ และโทรคมนาคมในปัจจุบัน และสอดคล้องตาม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแม่บทด้านสารสนเทศและ การสื่อสารของประชาคม อาเซียน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) และ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนา ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม </p>
ในปัจจุบันเทคโนโลยีโทรคมนาคม มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้นักเรียน และนักศึกษามีความสนใจทางด้านเทคโนโลยีในหลากหลายสาขา รวมถึง เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม ซึ่งดังกล่าวนี้ จะก่อให้เกิดสร้างความสนใจในเทคโนโลยีโทรคมนาคมเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สายงานอาชีพด้านโทรคมนาคมในอนาคตต่อไป อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม ยังเป็นไปด้วยความจำกัด เนื่องจากปัจจัย 2 ประการคือ  
ในปัจจุบันเทคโนโลยีโทรคมนาคม มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้นักเรียน และนักศึกษามีความสนใจทางด้านเทคโนโลยีในหลากหลายสาขา รวมถึง เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม ซึ่งดังกล่าวนี้ จะก่อให้เกิดสร้างความสนใจในเทคโนโลยีโทรคมนาคมเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สายงานอาชีพด้านโทรคมนาคมในอนาคตต่อไป อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม ยังเป็นไปด้วยความจำกัด เนื่องจากปัจจัย 2 ประการคือ 1) การขาดแคลนเครื่องมือในการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม เนื่องจากเครื่องมือวัดทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมมีมูลค่าสูง และ 2) การขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ </p>
#การขาดแคลนเครื่องมือในการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม เนื่องจากเครื่องมือวัดทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมมีมูลค่าสูง  
#การขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ </p>
การส่งเสริมให้เกิดการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม จำเป็นต้องมีเครื่องมือหรือสื่อการสอนที่เหมาะสมโดยเฉพาะในนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งเป็นช่วงวัยที่ควรได้รับการพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ และการสร้างความสนใจทางด้านเทคโนโลยีโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้พัฒนาเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ  ซึ่งเป็นเครื่องมือในการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณไวไฟ โดยผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจในทฤษฎีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมได้อย่างหลากหลาย เช่น เครื่องส่งวิทยุคมนาคม เครื่องรับวิทยุคมนาคม สายอากาศ รูปแบบการแพร่กระจายคลื่น เป็นต้น เหมาะสมสำหรับเป็นเครื่องมือช่วยสอนทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน </p>
การส่งเสริมให้เกิดการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม จำเป็นต้องมีเครื่องมือหรือสื่อการสอนที่เหมาะสมโดยเฉพาะในนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งเป็นช่วงวัยที่ควรได้รับการพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ และการสร้างความสนใจทางด้านเทคโนโลยีโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้พัฒนาเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ  ซึ่งเป็นเครื่องมือในการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณไวไฟ โดยผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจในทฤษฎีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมได้อย่างหลากหลาย เช่น เครื่องส่งวิทยุคมนาคม เครื่องรับวิทยุคมนาคม สายอากาศ รูปแบบการแพร่กระจายคลื่น เป็นต้น เหมาะสมสำหรับเป็นเครื่องมือช่วยสอนทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน </p>
ดังกล่าวนี้ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านสายอากาศโทรคมนาคมในโรงเรียน จึงได้สร้างโอกาสและส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน ด้วยเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ โดยจัดการฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ในการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุดเครื่องมือ เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ  จำนวน 500 ชุด ให้กับสถานศึกษานำร่องจำนวน 200 โรงเรียนทั่วประเทศ รวมถึงและ การจัดการแข่งขันการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณในสถานการณ์ฉุกเฉินจำลอง เพื่อเป็นการสร้างความสนใจทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมให้กับนักเรียนด้วย
ดังกล่าวนี้ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านสายอากาศโทรคมนาคมในโรงเรียน จึงได้สร้างโอกาสและส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียน ด้วยเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ โดยจัดการฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ในการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุดเครื่องมือ เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ  จำนวน 500 ชุด ให้กับสถานศึกษานำร่องจำนวน 200 โรงเรียนทั่วประเทศ ที่มีการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และ อาชีวศึกษา รวมถึงและ การจัดการแข่งขันการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณในสถานการณ์ฉุกเฉินจำลอง เพื่อเป็นการสร้างความสนใจทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมให้กับนักเรียนด้วย


==วัตถุประสงค์ของโครงการ==
==วัตถุประสงค์ของโครงการ==
Line 28: Line 26:
*สามารถขยายโอกาสให้ครู และนักเรียนมีอุปกรณ์ในการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม  
*สามารถขยายโอกาสให้ครู และนักเรียนมีอุปกรณ์ในการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม  
*สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนมีความสนใจเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม
*สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนมีความสนใจเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม
<noinclude>
==อ้างอิง==
<references />
</noinclude>

Please note that all contributions to WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ may be edited, altered, or removed by other contributors. If you do not want your writing to be edited mercilessly, then do not submit it here.
You are also promising us that you wrote this yourself, or copied it from a public domain or similar free resource (see โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ:Copyrights for details). Do not submit copyrighted work without permission!

Cancel Editing help (opens in new window)