Difference between revisions of "เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ"

From WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ
Jump to navigation Jump to search
(Created page with "==การค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณวิทยุคมนาคม== การค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ (Radio Direction Finding) เป็นการวัดความเข้มของสัญญาณที่รับได้จากแหล่งกำเนิดสัญญาณโทรคมนาคมหรือเครื่องส่งวิทยุคม...")
 
 
(7 intermediate revisions by 2 users not shown)
Line 1: Line 1:
==การค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณวิทยุคมนาคม==
เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ เป็น เครื่องสำหรับ[[การค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณวิทยุคมนาคม|ค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณวิทยุคมนาคม]]
การค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ (Radio Direction Finding) เป็นการวัดความเข้มของสัญญาณที่รับได้จากแหล่งกำเนิดสัญญาณโทรคมนาคมหรือเครื่องส่งวิทยุคมนาคม มายังเครื่องรับวิทยุคมนาคม ซึ่งเป็นพื้นฐานของเทคโนโลยีทางวิศวกรรมโทรคมนาคมหลากหลาย เช่น การสื่อสารไร้สาย (Wireless Communications) การทำงานของเรดาร์ เป็นต้น การค้นาแหล่งกำเนิดสัญญาณโทรคมนาคม สามารถใช้ในการเดินเรือ การนำทางอากาศยาน การค้นหาเครื่องส่งสัญญาณฉุกเฉิน (Emergency Transmitters) ในการค้นหาและกู้ภัย รวมถึงการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณแปลกปลอม หรือสัญญาณรบกวนทางโทรคมนาคม
 
การค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณโทรคมนาคม เป็นวิธีการซึ่งทำให้เกิดการเรียนรู้ทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโทรคมนาคม ในหลายแขนง เช่น
==แนวคิดหรือต้นแบบ==
*ความรู้เรื่องคลื่น ความถี่ ความยาวคลื่น สเปรคตรัมของคลื่น ช่วงสเปรคตรัมของคลื่นที่ถูกกำหนดให้ใช้ในระดับนานาชาติ ช่วงสเปรคตรัมของคลื่นที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ช่วงสเปรคตรัมของคลื่นที่สอดคล้องตามกฏหมายของประเทศไทย สอดคล้องกับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 , หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 ( ปรับปรุง พ.ศ.2546) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546, พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ.2498 และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
 
*ความรู้เรื่องเครื่องส่งวิทยุคมนาคม เครื่องรับวิทยุคมนาคม การส่งข้อมูลไร้สาย รูปแบบและเทคโนโลยีการส่งข้อมูลไร้สาย เทคโนโลยีการส่งข้อมูลไร้สายในชีวิตประจำวัน กำลังส่ง กำลังส่งของอุปกรณ์วิทยุคมนาคมที่ถูกต้องตามกฏหมายของประเทศไทย สอดคล้องกับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 , หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 ( ปรับปรุง พ . ศ . 2546) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546,  พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ.2498 และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
โครงการฯ ได้ทำการพัฒนาต้นแบบแนวคิด (Proof of Concept) โดยการพัฒนาชุดเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ  ประกอบด้วย ส่วนประกอบหลัก ดังต่อไปนี้
*สายนำสัญญาณ  การทำงานของสายนำสัญญาณ ประเภทของสายนำสัญญาณ อิมพีแดนซ์ พิกัดกำลัง พิกัดความถี่ รูปแบบการเชื่อมต่อสายนำสัญญาณ สอดคล้องกับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 , หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 ( ปรับปรุง พ . . 2546) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546, พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ..2498 และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
#บอร์ดสมองกลฝังตัว ประกอบด้วย หน่วยประมวลผลหลักคือไมโครคอนโทรลเลอร์ รุ่น ESP32 ของบริษัท Espressif โดยมีการผลิตและประกอบขึ้นในประเทศไทย มีความสามารถในการประมวลผล และรับสัญญาณไร้สายในรูปแบบของ สัญญาณ Wi-Fi และ Bluetooth Low Energy พร้อมกับการวิเคราะห์ความเข้มของสัญญาณที่รับได้ (Received Signal Strength Indicator)
*สายอากาศ รูปแบบการแพร่กระจายคลื่นของสายอากาศ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ทิศทางการแพร่กระจายคลื่น ประโยชน์ของการใช้สายอากาศในการเพิ่มประสิทธิภาพการติดต่อสื่อสารไร้สาย สายอากาศรูปแบบต่าง ๆ เช่น สายอากาศชนิดรอบตัว สายอากาศชนิดทิศทาง สายอากาศชนิดกึ่งทิศทาง การตั้งสถานีวิทยุคมนาคม ข้อกำหนดการตั้งสถานีวิทยุคมนาคมที่ถูกต้องตามกฏหมายของประเทศไทย สอดคล้องกับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 , หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 ( ปรับปรุง พ . ศ . 2546) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546, พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ.2498 และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
#สายอากาศชนิดทิศทาง สายอากาศชนิดรอบตัว เพื่อสร้างความเข้าใจในคุณสมบัติของสายอากาศชนิดต่าง ๆ และ ใช้ในการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ
*การค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ซึ่งจะเห็นได้ว่า การค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ เป็นกิจกรรมที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ในศาสตร์หลายแขนง ที่เชื่อมโยงกับเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม อย่างไรก็ตาม การเรียนการสอนโดยการใช้วิธีการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณโดยทั่วไป ยังเป็นไปได้ยากเนื่องจากอุปกรณ์เครื่องวัดทางโทรคมนาคมมักมีราคาสูง ต้องการการบำรุงรักษาตลอดระยะเวลาการใช้งาน
#สายนำสัญญาณ พร้อมชุดขั้วต่อสายนำสัญญาณ เพื่อใช้ในการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ
#หน้าจอแสดงผลข้อมูลความเข้มของสัญญาณที่รับได้ แสดงความเข้มของสัญญาณที่รับได้ เพื่อใช้ในการอ่านค่าสัญญาณ และค้นหาแห่งกำเนิดสัญญาณ
#กล่องอุปกรณ์ในรูปแบบมือถือ (Handheld) พร้อมแบตเตอรี่
 
เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ  ที่จะถูกพัฒนาขึ้นโดย ครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา และ นักเรียน มีรายละเอียดด้านเทคนิค ดังต่อไปนี้
*ใช้ค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ประเภท WiFi Accesspoint บนความถี่ 2.4 กิกะเฮิร์ทซ์
*มีจอแสดงผล แสดงความเข้มของสัญญาณจากแหล่งกำเนิดสัญญาณ
*มีสายอากาศชนิดทิศทาง และ สายอากาศชนิดรอบตัว อย่างละ 1 ชุด
*มีแบตเตอรี่ชนิดประจุซ้ำได้ พร้อมวงจรประจุแบตเตอรี่ โดยทำงานต่อเนื่องกันได้ไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
 
ทั้งนี้ ชุดเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ  ในโครงการ จัดเป็นเครื่องมือวัดทางอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม ซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องได้รับใบอนุญาตทํา มี ใช้ นําเข้า นําออก ค้าซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคม และตั้งสถานีวิทยุคมนาคม เว้นแต่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จะประกาศกําหนดเพิ่มเติมเป็นอย่างอื่น ตามประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมและสถานีวิทยุคมนาคมที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องได้รับใบอนุญาต ตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘
 
==การประกอบ WiFinder==
1.ประกอบเหล็กฉาก และ มือจับ เข้าด้วยกัน ด้วยสกรูโลหะที่มีมาให้ในชุด
 
[[File:Wifinder_comp1.jpeg|200px|จากซ้ายไปขวา สายอากาศ Logperiodic, สกรูโลหะสำหรับยึดสายอากาศ และ WiFinder ที่ประกอบเหล็กฉาก และมือจับเรียบร้อยแล้ว]]
 
2.ประกอบ WiFinder เข้ากับ มือจับ ด้วยสกรูโลหะที่มีมาให้ในชุด
 
[[File:WiFinder_comp2.jpeg|200px|จากซ้ายไปขวา สายอากาศ Logperiodic และ WiFinder ที่ประกอบเหล็กฉาก และมือจับเรียบร้อยแล้ว]]
 
3.ประกอบ WiFinder เข้ากับ สายอากาศ ด้วยสกรูโลหะที่มีมาให้ในชุด
 
[[File:WiFinder_comp3.jpeg|200px|จากซ้ายไปขวา สายอากาศ Logperiodic และ WiFinder ที่ประกอบเหล็กฉาก และมือจับเรียบร้อยแล้ว]]
 
4. เสร็จสิ้น และ สามารถนำไปใช้งานได้

Latest revision as of 08:08, 27 March 2023

เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ เป็น เครื่องสำหรับค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณวิทยุคมนาคม

แนวคิดหรือต้นแบบ[edit]

โครงการฯ ได้ทำการพัฒนาต้นแบบแนวคิด (Proof of Concept) โดยการพัฒนาชุดเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ประกอบด้วย ส่วนประกอบหลัก ดังต่อไปนี้

  1. บอร์ดสมองกลฝังตัว ประกอบด้วย หน่วยประมวลผลหลักคือไมโครคอนโทรลเลอร์ รุ่น ESP32 ของบริษัท Espressif โดยมีการผลิตและประกอบขึ้นในประเทศไทย มีความสามารถในการประมวลผล และรับสัญญาณไร้สายในรูปแบบของ สัญญาณ Wi-Fi และ Bluetooth Low Energy พร้อมกับการวิเคราะห์ความเข้มของสัญญาณที่รับได้ (Received Signal Strength Indicator)
  2. สายอากาศชนิดทิศทาง สายอากาศชนิดรอบตัว เพื่อสร้างความเข้าใจในคุณสมบัติของสายอากาศชนิดต่าง ๆ และ ใช้ในการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ
  3. สายนำสัญญาณ พร้อมชุดขั้วต่อสายนำสัญญาณ เพื่อใช้ในการค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ
  4. หน้าจอแสดงผลข้อมูลความเข้มของสัญญาณที่รับได้ แสดงความเข้มของสัญญาณที่รับได้ เพื่อใช้ในการอ่านค่าสัญญาณ และค้นหาแห่งกำเนิดสัญญาณ
  5. กล่องอุปกรณ์ในรูปแบบมือถือ (Handheld) พร้อมแบตเตอรี่

เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ที่จะถูกพัฒนาขึ้นโดย ครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา และ นักเรียน มีรายละเอียดด้านเทคนิค ดังต่อไปนี้

  • ใช้ค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ประเภท WiFi Accesspoint บนความถี่ 2.4 กิกะเฮิร์ทซ์
  • มีจอแสดงผล แสดงความเข้มของสัญญาณจากแหล่งกำเนิดสัญญาณ
  • มีสายอากาศชนิดทิศทาง และ สายอากาศชนิดรอบตัว อย่างละ 1 ชุด
  • มีแบตเตอรี่ชนิดประจุซ้ำได้ พร้อมวงจรประจุแบตเตอรี่ โดยทำงานต่อเนื่องกันได้ไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง

ทั้งนี้ ชุดเครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ ในโครงการ จัดเป็นเครื่องมือวัดทางอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม ซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องได้รับใบอนุญาตทํา มี ใช้ นําเข้า นําออก ค้าซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคม และตั้งสถานีวิทยุคมนาคม เว้นแต่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จะประกาศกําหนดเพิ่มเติมเป็นอย่างอื่น ตามประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมและสถานีวิทยุคมนาคมที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องได้รับใบอนุญาต ตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘

การประกอบ WiFinder[edit]

1.ประกอบเหล็กฉาก และ มือจับ เข้าด้วยกัน ด้วยสกรูโลหะที่มีมาให้ในชุด

จากซ้ายไปขวา สายอากาศ Logperiodic, สกรูโลหะสำหรับยึดสายอากาศ และ WiFinder ที่ประกอบเหล็กฉาก และมือจับเรียบร้อยแล้ว

2.ประกอบ WiFinder เข้ากับ มือจับ ด้วยสกรูโลหะที่มีมาให้ในชุด

จากซ้ายไปขวา สายอากาศ Logperiodic และ WiFinder ที่ประกอบเหล็กฉาก และมือจับเรียบร้อยแล้ว

3.ประกอบ WiFinder เข้ากับ สายอากาศ ด้วยสกรูโลหะที่มีมาให้ในชุด

จากซ้ายไปขวา สายอากาศ Logperiodic และ WiFinder ที่ประกอบเหล็กฉาก และมือจับเรียบร้อยแล้ว

4. เสร็จสิ้น และ สามารถนำไปใช้งานได้